ชมรม มสธ.ระยอง

Would you like to react to this message? Create an account in a few clicks or log in to continue.

สังคมแห่งการแบ่งปันเพื่อชาว มสธ.ระยอง


    กฎหมายพาณิชณ์ 2

    nustatalo
    nustatalo
    อนุบาล3
    อนุบาล3


    จำนวนข้อความ : 84
    Join date : 19/11/2009
    : 44
    ที่อยู่ : นิคมพัฒนา

    กฎหมายพาณิชณ์ 2 Empty กฎหมายพาณิชณ์ 2

    ตั้งหัวข้อ  nustatalo Mon Mar 21, 2011 9:39 am

    กฎหมายพาณิชย์2

    ข้อ 1
    นายมิตรดั๊น้ยืมเงินนายแมนจำนวน 10,000 บาท โดยทำหนังสือสัญญาดั๊น้ยืมเงินกันไว้ แต่ไม่ได้กำหนดเวลาชำระเวลาล่วงเลยมา 1 ปี นายมิตรได้ชำระเงินต้นพร้อมดอกให้นายแมนครบถ้วนแล้วแต่ไม่ได้ทำ หลักฐานการใช้เงินไว้แต่อย่างใด หลังจากชำระหนี้คืนแล้ว 5 ปี นายแมนได้มาท้วงถามหนี้เงินดั๊น้พร้อมดอกเบี้ยคืนจากนายมิตรอีก นายมิตรไม่ยอมชำระหนี้ นายแมนฟ้องร้องคดีต่อศาล นายมิตรต่อสู้ว่า หนี้เงินดั๊น้ระงับแล้วนายแมนไม่มีสิทธิ์เรียกร้อง และเงินดั๊น้ขาดอายุความฟ้องร้อง ดังนี้ถ้าท่านเป็นศาล จะรับฟ้องข้อต่อสู้ข้องนายมิตรหรือไม่
    เฉลย
    กรณีดังกล่าวพิจารณาว่าเป็นเรื่องการนำสืบการใช้เงิน กรณีมีหลักฐานการดั๊น้ยืมเป็นหนังสือ ตาม ปพพ. มาตรา 653 วรรคสอง ซึ่งบัญญัติว่า ในการดั๊น้ยืมเงินมีหลักฐานเป็นหนังสือนั้น ท่านว่าจะนำสืบการใช้เงินต่อไปได้เมื่อมีหลักฐานเป็นหนังสืออย่ างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมมาแสดง หรืเอกสารนั้นเป็นหลักฐานแห่งการดั๊น้ยืมได้เวนคืนแล้ว หรือได้แทงเพิกถอนลงในเอกสารแล้ว
    ตามปัญหาเป็นเรื่องการดั๊น้ยืมเงินที่มีหลังฐาน การยืมเงินเป็นหนังสือ การนำสืบการใช้เงินต้องปฏิบัญญัติตามมาตรา 653 วรรคสอง ที่นายมิตรได้ชำระหนี้เงินดั๊น้ให้นายแมนแล้วแต่ไม่ได้ทำหลักฐา นก ารการใช้เงินเป็นหนังสือลงลายมือชื่อนายแมนผู้ให้ดั๊น้ยืมเป็นส ำค ัญ และข้อเท็จจริงไม่ได้หมายความว่านายแมนได้เวนคืนหนังสือสัญญาให ้แก่นายมิตร หรือแทงเพิกถอนลงในสัญญาดั๊น้ นายมิตรจะนำสืบการใช้ต้นเงินดังกล่าวไม่ได้ ส่วนในเรื่องดอกเบี้ยนายมิตรนำสืบได้
    ข้อต่อสู้เรื่องขาดอายุความนั้นกฎหมายไม่ได้กำหนดอายุความในการ ฟ้องเรียกเงินดั๊น้ไว้ จึงฟ้องคดีได้ในกำหนดเวลา 10 ปี นับแต่ทำสัญญาดั๊น้ ตามปัญหาระยะตั้งแต่ทำสัญญาดั๊น้ยืมเงินมีกำหนด 6 ปี จึงไม่ขาดอายุความฟ้องร้อง ข้อต่อสู้เรื่องอายุความของนายมิตรก็ตกไปเช่นเดียวกัน
    ถ้าข้าพเจ้าเป็นศาลจะไม่รับฟังข้อต่อสู้ของนายมิตรทั้งสองกรณี


    nustatalo
    nustatalo
    อนุบาล3
    อนุบาล3


    จำนวนข้อความ : 84
    Join date : 19/11/2009
    : 44
    ที่อยู่ : นิคมพัฒนา

    กฎหมายพาณิชณ์ 2 Empty Re: กฎหมายพาณิชณ์ 2

    ตั้งหัวข้อ  nustatalo Mon Mar 21, 2011 9:40 am

    ข้อ 2
    บริษัทสุโขทัย จำกัดดำเนินกิจการขายพืชผลทางการเกษตรได้แต่งตั้งให้นายธรรมเป็ นผู้จัดการดูแลกิจการทั้งหมด ต่อมานายธรรมขอลาออกแต่เกษตรกรที่เคยติดต่อค้าขายกับบริษัทยังค งนำพืชผลมาส่งบริษัทผ่านนายธรรมเพราะความคุ้นเคยกันและนายธรรมก ็ชำระค่าพืชผลแทนบริษัทไปก่อนเป็นจำนวน 1ล้านบาทแล้วจะไปเบิกคืนจากบริษัท อีก 1 ปี ต่อมานายธรรมได้ไปดั๊น้เงินจากนายเที่ยง จำนวน 10ล้านบาท เพื่อซื้อที่ดินปลูกคอนโดมิเนียมไว้ขายเนื่องจากเป็นที่นิยมและ จะไดกำไรมาก โดยนายธรรมเจราจากับบริษัทว่าตนประสงค์จะทำเพื่อบริษัทเป็นการต อบแทนที่เคยทำงานกันมานานและบริษัทได้ให้สัตยาบันการดั๊น้เงินร าย นี้และให้ชื่อว่า สุโขทัย ดอนโดเทลปรากฎว่าดอนโดมิเนียมที่ปลูกนั้นไม่มีผู้จองซื้อเพราะก ่อสร้างไม่ดี กิจการขาดทุน นายเที่ยงมาเรียกเงินให้แก่บิรษัทสุโขทัย จำกัดชำระหนี้ตามที่ได้ให้สัตยาบันการดั๊น้เงินครั้งนี้ แต่บริษัทไม่ยอมชำระ ขอให้ท่านวินิจฉัยว่า
    1. นายธรรมจะเรียกร้องให้บริษัท สุโขทัยจำกัด ชดใช้เงิน 7 ล้านบาทที่นายธรรมชำระค่าพืชผลแทนบริษัทได้หรือไม่
    2. นายเที่ยงจะฟ้องร้องให้บริษัทสุโขทัยจำกัด รับผิดชอบชำระเงินดั๊น้ 10ล้านบาท ได้หรือไม่
    3. บริษัทสุโขทัย จำกัดจะเรียกร้องให้นายธรรมชดใช้ค่าเสียหายที่ทำให้บริษัทเสียห ายเนื่องจากดอนโดมิเนียมไม่ดีทำให้กิจการขาดทุนและเป็นที่เสื่อ มเสียชื่อเสียงของบริษัทได้หรือไม่

    เฉลย
    กฎหมายบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องตัวแทนความว่า ถ้าตัวแทนกระทำการอันใดอันหนึ่งโดยปราศจากอำนาจ หรือทำนอกเหนือขอบอำนาจก็ดี ท่านว่าย่อมไม่ผูกพันตัวการเว้นแต่ตัวการจะให้สัตยาบันเป็นแก่ก ารนั้น (มาตรา 823)
    บุคคลใดเชิดบุคคลอีกคนหนึ่งออกแสดงเป็นตัวแทนของตนท่านว่าบุคคล นั้นจะต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกผู้สุจริตเสมือนว่าบุคคลนั้นเป็ นตัวแทนของตน (มาตรา821)
    และในการจัดทำกิจการอันเขามอบหมายแก่ตนนั้น ตัวแทนได้ออกเงินทดรองหรือออกค่าใช้จ่ายไปซึ่งพิเคราะห์ตามเหตุ ควรนับว่าเป็นการจำเป็นได้ไซร้ท่านว่าตัวแทนจะเรียกเงินชดใช้จา กตัวการทั้งดอกเบี้ยนับแต่วันที่ได้ออกเงินไปนั้นด้วยก็ได้ (มาตรา 816)
    ตัวการย่อมมีการผูกพันต่อบุคคลภายนอกโดยกิจการทั้งหลายอันตัวแท นได้ทำไปภายในขอบอำนาจ (มาตรา 820) แต่ถ้าตัวแทนกระทำการอันใดอันหนึ่ง โดยปราศจากอำนาจท่านว่าไม่ผูกพันตัวการ
    กรณีจากอุทธาหรณ์แม้นายธรรมจะขอลาออกจากการเป็นผู้จัดการดูแลกิ จการแล้วแต่บริษัทก็ยังยอมให้นายธรรมติดต่อรับซื้อพืชผลจากเกษต รกรและในบางในบางครั้งก็ให้นายธรรมจ่ายเงินค่าสินค้าไปก่อนด้วย ทำให้บุคคลภายนอกเชื่อได้ว่านายธรรมเป็นตัวแทนของบริษัทอยู่ (มาตรา 821) และเมื่อนายธรรมได้จ่ายเงินค่าสินค้าแก่เกษตรกรในฐานะที่ตัวแทน เป็นตัวแทนเช็คดังกล่าวตัวแทนย่อมต้องรับผิดชดใช้เงินที่ตัวแทน ได้ทดรองจ่ายไปก่อนรวมทั้งดอกเบี้ยด้วย
    (มาตรา 816)
    ส่วนในกรณีที่สองนายธรรมไปดั๊น้เงินนายเที่ยง 10 ล้านบาท เพื่อปลูกดอนโดมิเนียมไว้ขายนั้นเป็นกิจการนอกวัตถุประสงค์ของบ ริษัทสุโขทัย จำกัด แม้ บริษัทจะให้สัตยาบันดั๊น้เงินดังกล่าวตลอดจนให้ใช้ชื่อสุโขทัยด อน โดมิเนียมก็ตามก็ตามก็ไม่อาจจะเป็นการให้สัตยาบันแก่นายธรรมได้ เนื่องจากตัวการเองก็ไม่มีอำนาจ ที่กระทำได้ ตัวการจะให้สัตยาบันการกระทำใดๆแก่ตัวแทนตัวเองต้องมีความสามาร ถที่จะกระทำการด้วยตนเองได้ ดังนั้นในกรณีนี้จึงไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามกฎหมาย มาสตรา 823 นายธรรมจึงไม่ใช่ตัวแทนของบริษัทสุโขทัย จำกัดเมื่อนายธรรมมิใช่ตัวแทนของบริษัท กิจการใดๆที่นายธรรมกระทำลงไปย่อมผูกพันนายธรรมแต่เพียงผู้เดีย วและไม่ผูกพันตัวการ(มาตรา 820)เพราะนายธรรมมิใช่ตัวแทน
    ดังนั้นนายเที่ยงจะฟ้องร้องนายเที่ยงให้บริษัท สุโขทัย จำกัด รับผิดชำระหนี้เงินดั๊น้ 10 ล้านบาทไม่ได้ต้องไปเรียกร้องเอาจากนายธรรมโดยตรง
    และเมื่อนายธรรมมิใช่ตัวแทนเองของบริษัท สุโขทัย จำกัด จึงไม่มีสิทธิ์เรียกร้องให้นายธรรมชดใช้ค่าเสียหายที่ทำให้กิจก ารดอนโดมิเนียมขาดทุน เนื่องจากก่อสร้างไม่ดี เพราะมิใช่กิจการของบริษัท สุโขทัย จำกัด ดังกล่าวส่วนเรื่องเสื่อมเสียชื่อเสียงของบริษัทนั้นเป็นเรื่อง ที่บริษัทยินยอมให้ใช้ชื่อของบริษัทโดยสมัครใจจึงไม่มีสิทธิ์เร ียกร้องค่าเสียหายจากนายธรรมกิจการดอนโดมิเนียมทั้งหมดนายธรรมเ ป็นผู้รับผิดโดยส่วนตัวจึงไม่เกิดความเสียหายแก่บริษัทสุโขทัย จำกัดนอกจากเรื่องที่ใช้ชื่อบริษัทยินยอมเอง

    สรุป
    1. นายธรรมจะเรียกร้องให้บริษัท สุโขทัยจำกัด ชดใช้เงิน 1ล้านบาทที่นายธรรมชำระค่าพืชผลแทนได้
    2. นายเที่ยงจะฟ้องร้องให้บริษัท สุโขทัย จำกัด รับผิดชำระหนี้เงินดั๊น้ 10 ล้านบาทไม่ได้ ต้องเรียกร้องเอาจากนายธรรมโดยตรง
    3. บริษัทสุโขทัย จำกัดจะเรียกร้องให้นายธรรมชดใช้ค่าเสียหายและค่าเสื่อมเสียชื่ อเสียงของบริษัทไม่ได้ เพราะนายธรรมมิใช่ตัวแทนซึ่งการกระทำความเสียหายแก่บริษัทหากแต ่เป็นเรื่องนายธรรมเสียหายเอง








    nustatalo
    nustatalo
    อนุบาล3
    อนุบาล3


    จำนวนข้อความ : 84
    Join date : 19/11/2009
    : 44
    ที่อยู่ : นิคมพัฒนา

    กฎหมายพาณิชณ์ 2 Empty Re: กฎหมายพาณิชณ์ 2

    ตั้งหัวข้อ  nustatalo Mon Mar 21, 2011 9:41 am

    กฎหมายพาณิชย์ 2 สอบซ่อมและภาคพิเศษ 2/2532

    โจทก์
    นายสำราญตั้งนายพรเป็นตัวแทนดูแลปั้มน้ำมันแห่งหนึ่ง ซึ่งนายสำราญเป็นเจ้าของ ต่อมานายสำราญทราบว่านายพรมักชอบยักยอกรายได้จากการขายน้ำมันอย ู่เสมอ นายสำราญจึงถอนนายพรจากการเป็นตัวแทนและติดประกาศแจ้งไว้ที่บริ เวณปั้มน้ำมัน นายเสถียรซึ่งเป็นลูกจ้างประจำไม่ได้สังเกตเห็นประกาศดังกล่าว จึงได้นำเงินค่าน้ำมันจำนวน 3,000 บาท ไปชำระให้กับนายพรที่ตลาดเพราะบังเอิญพบนายพรพอดี ต่อมานายสำราญได้ไปทวงเงินค่าน้ำมันจำนวน 3,000 บาทดังกล่าวจากนายเสถียร กรณีเช่นนี้นายเสถียรจะต้องชำระเงินค่าน้ำมันให้กับนายสำราญอีก หรือไม่ เพราะเหตุใด

    เฉลย
    ปพพ. มาตรา 831 ได้วางหลักไว้ว่าการระงับสินไปแห่งสัญญาตัวแทน ห้ามมิให้ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอก ผู้ทำการโดยสุจริต เว้นแต่บุคคลภายนอกหากไม่ทราบความนั้นเพราะความประมาทเลินเล่อข องตนเอง
    กรณีตามอุทธรณ์ การที่นายสำราญบอกเลิกการเป็นตัวแทนของนายพรและติดประกาศไว้บริ เวณปั้มน้ำมัน ซึ่งบุคคลโดยทั่วไปไม่สนใจอ่านประกาศนั้น เมื่อนายเสถียรนำค่าน้ำมันไปชำระให้นายพรโดยไม่ทราบความจริงว่า นายพรหาได้เป็นตัวแทนนายสำราญแต่อย่างใด จึงถือได้ว่านายเสถียรกระทำการโดยสุจริต นายเสถียรจึงสามารถอ้างความสุจริตต่อสู้กับนายสำราญและไม่จำต้อ งชำระเงินค่าน้ำมันให้กับนายสำราญแต่อย่างใด

    nustatalo
    nustatalo
    อนุบาล3
    อนุบาล3


    จำนวนข้อความ : 84
    Join date : 19/11/2009
    : 44
    ที่อยู่ : นิคมพัฒนา

    กฎหมายพาณิชณ์ 2 Empty Re: กฎหมายพาณิชณ์ 2

    ตั้งหัวข้อ  nustatalo Mon Mar 21, 2011 9:43 am

    โจทก์
    ชาติทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารจำนวน 5000,000 บาท ระยะเวลา 1 ปี เป็นอัตราดอกเบี้ย 16% ต่อปี โดยจดทะเบียนจำนองที่ดินเป็นประกัน ต่อมา อีก 3 เดือน ชาติถึงแก่กรรม ภริยาชาติจึงทำหนังสือรับสภาพหนี้กับธนาคารแทนชาติ ต่อมาภริยาชาติไม่ชำระหนี้ ธนาคารจึง ฟ้องภริยาของชาติให้รับผิดในดอกเบี้ยที่ค้างชำระก่อนชาติถึงแก่ กรรม ในอัตราร้อยละ 16 ต่อ ปี โดยคิดทบต้นจำนวนหนึ่งและคิดดอกเบี้ยในจำนวนเงินที่ค้างชำระหลั งจากชาติถึงแก่กรรมอีกจำนวนหนึ่ง ดังนี้ ธนาคารจะทำได้หรือไม่ เพียงใด

    เฉลย
    ตาม ปพพ. มาตรา 655 บัญญัติว่าท่านห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่ค้างชำระ แต่ทว่าดอกเบี้ยค้างชำระไม่น้อยกว่าหนึ่ง คู่สัญญาดั๊น้ยืม จะตกลงให้เอาดอกเบี้ยนั้นทบเข้ากับต้นเงินแล้วให้คิดดอกเบี้ยใน จำนวนเงินที่ทบเข้ากันนั้นได้แต่การตกลงเช่นนั้นต้องทำเป็นหนัง สือ
    ส่วนประเพณีการซื้อขายที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดก็ ดี ในการค้าขายอย่างอื่นทำนองเช่นว่านี้ก็ดี หาอยู่ในบังคับแห่งบทบัญญัติซึ่งกล่าวมาในวรรคก่อนนั้นไม่
    ตาม พรบ ธนาคารพาณิชย์ พ.ศ. 25252 มาตรา 14 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรบ. ธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่2) พ.ศ. 2522 บัญญัติให้ธนาคารแห่งประเทศไทยออกประกาศเป็นข้อกำหนดด้วยความเห ็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังถือปฏิบัติเกี่ยวกับการเร ียกดอกเบี้ยหรือส่วนลดได้ไม่เกินร้อยละ 16.50 ต่อปี (เมษายน 33)
    ตามปัญหาเงินจำนวน 500,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยก่อนชาติถึงแก่กรรมนั้นธนาคารสามารถคิดดอกเบี้ยทบ ต้นได้ตาม ปพพ. มาตรา 655 วรรค 2 เนื่องจากการดั๊น้เบิกเงินเกินบัญชีประกอบด้วยสัญญาบัญชีเดินสะพั ด ดังนั้น ไม่อยู่ในบังคับของมาตรา 655 วรรคแรก ที่ห้ามคิดดอกเบี้ยทบต้น ส่วนจำนวนหนี้ 500,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยหลังชาติถึงแก่กรรมนั้น ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบต้นไม่ได้ แม้ภริยาชาติจะทำหนังสือรับสารภาพหนี้ในเงินจำนวนนี้กับธนาคารแ ล้วก็ตาม เนื่องจากการดั๊น้เงินโดยวิธีบัญชีเดินสะพัดจากธนาคาร เบิกและใช้คืนในวงเงินและกำหนดเวลาตามข้อตกลงเป็นเรื่องเจตนาเฉ พาะตัว เมื่อผู้ดั๊น้ตายสัญญาบัญชีเดินสะพัดระงับ จึงคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อไปไม่ได้ คงเรียกหนี้รายนี้จากภริยาของชาติได้เฉพาะตามสัญญาดั๊น้ยืมธรรมดา คือร้อย 16 ตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญาและไม่ต้องด้วยข้อห้ามเรียก ดอกเบี้ยเกินอัตราตามมาตรา 654 ทั้งนี้เป็นไปตาม พรบ. ธนาคารพาณิชย์
    nustatalo
    nustatalo
    อนุบาล3
    อนุบาล3


    จำนวนข้อความ : 84
    Join date : 19/11/2009
    : 44
    ที่อยู่ : นิคมพัฒนา

    กฎหมายพาณิชณ์ 2 Empty Re: กฎหมายพาณิชณ์ 2

    ตั้งหัวข้อ  nustatalo Mon Mar 21, 2011 9:45 am

    โจทก์
    นายสุเทพทำสัญญาประกันภัยค้ำจุนกับบริษัทรวมประกันจำกัด วงเงิน 200,000บาท ต่อมานายสุเทพขับรถชนรถยนต์ของนายวิศิษฎ์เสียหายทั้งคันค่าเสีย หาย 250,000บาท นายสุเทพตกลงยินยอมชดใช้ค่าเสียหาย ดังกล่าวแก่นายวิศิษฎ์ โดยทำสัญญาว่านายวิศิษฏ์จะไม่ฟ้องร้องนายสุเทพต่อไป แต่นายสุเทพไม่จ่ายเงิน 250,000บาท ให้แก่นายวิศิษฏ์ ตามสัญญาดังกล่าวจนเวลาล่วงเลยไป 1 ปี นายวิศิษฏ์จึงฟ้องให้บริษัทร่วมประกันจำกัดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามสัญญาประกันภัยค้ำจุน บริษัทร่วมประกันจำกัด อ้างว่าฟ้องของนายวิศิษฏ์ขาดอายุความเสียแล้ว บริษัทร่วมประกันจึงไม่ต้องรับผิดใดๆ ทั้งสิ้น ในกรณีนี้จึงวินิจฉัยว่าบริษัทร่วมประกันจะต้องรับผิดชอบชดใช้ ค่าสินไหมทดแทน โดยยกหลักกฎหมายอธิบายประกอบด้วย

    เฉลย
    การประกันภัยค้ำจุนเป็นการเป็นการประกันวินาศภัยที่เอาประกันเป ็นความรับผิดชอบของผู้เอาประกันภัยที่จะมีต่อบุคคลภายนอก ซึ่งเป็นความรับผิดตามกฎหมายอันก่อให้เกิดหนี้ที่จะต้องชำระแก่ บุคคล ภายนอกนั้นไม่จำกัดว่าจะต้องเกิดจากมูลหนี้ใดมูลหนี้หนึ่งโดยเฉ พาะอาจเกิดจากมูลหนี้ตามสัญญาละเมิดชอบสิทธิหรือจัดการงานนอกสั ่ง เป็นต้น บุคคลภายนอกมีสิทธิเลือกเรียกร้องหนี้ นั้นจากผู้เอาประกันซึ่งต้องรับผิดโดยตรงหรือจะเรียกร้องจากผู้ ประกันภัยค้ำจุนหรือเรียกร้าองทั้งสองนี้ก็ได้ แต่ต้องไม่เกิด ความเสียหายที่แท้จริงและไม่เกินจำนวนเงินที่เอาประกัน
    ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 887 บัญญัติว่า
    “ อันว่าประกันภัยค้ำจุนคือสัญญาประกันภัยซึ่งผู้รับประกันตกลงว่ าจะใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของผู้เอาประกันภัย เพื่อความวินาศภัยอันเกิดขึ้นแก่บุคคลอีกคนหนึ่งและซึ่งผู้เอาป ระกันภัยจะต้องรับผิดชอบ
    บุคคลผู้ต้องเสียหายชอบที่จะได้รับค่าสินไหนทดแทนตามที่ตนควรจะ ได้รับนั้นจากผู้ประกันภัยโดยตรง แต่ค่าสินไหมทดแทนเช่นว่านี้อาจจะคิดเกินไปกว่า จำนวนอันผู้รับประกันภัยพึงจะต้องใช้ตามสัญญานี้ได้ไม่..... ”
    มาตรา 888 ถ้าค่าสินไหมทดแทนอันผู้รับประกันได้ใช้ไปโดยคำพิพากษานั้นยังไ ม่คุ้มค่าวินาศภัยเต็มจำนวนไซร้ท่านว่าผู้เอาประกันภัยก็ยังคงต ้องยังใช้จำนวนที่ยังชี้ขาด
    มาตรา 882 “ในการเรียกใช้ค่าสินไหมทดแทนท่านห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นกำหนด 2 ปี นับแต่วินาศภัย ”
    จากปัญหาตามอุทาหรณ์นายสุเทพต้องรับผิดต่อนายวิศิษฎ์ ตามมูลละเมิดซึ่งต่อมาทั้งสองฝ่ายได้ตกลงให้นายสุเทพ ชดใช้ค่าทดแทนสินไหม โดยนายวิศิษฎ์จะไม่ฟ้องนาย<st1:PersonName ProductID="สุเทพต่อไปนั้น ก่อให้เกิดหนี้">สุเทพต่อไปนั้น ก่อให้เกิดหนี้</st1:PersonName> ตามมูลนิติกรรมสัญญาที่นายสุเทพจะต้องชดใช้แก่นายวิศิษฎ์แล้ว ในกรณีนี้หรือร่วมประกันจำกัดในฐานะที่เป็นผู้ที่รับประกันภัยค ้ำจุนจึงต้องผูกพันที่จะต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามเงื่อนไขของ สัญญาประกันภัยค้ำจุนมาตรา 887 วรรคแรก
    สำหรับการฟ้องร้องให้บริษัทผู้รับประกันภัยชดใช้ค่าสินไหมทดแทน จะต้องฟ้องร้องภายใน 2 ปี นับแต่วันวินาศภัย ในกรณีนี้แม้นายวิศิษฏ์ฟ้องบริษัทประกันภัย เมื่อเกิดอายุความ 1 ปี ตามมูลละเมิดเดิมก็จริงแต่ทั้งนายสุเทพและนายวิศิษฏ์ได้ตกลงรับ ผิดตามสัญญาที่ทำกันไว้ซึ่งทำให้หนี้ตามนิติกรรมเมื่ออายุความ 10 ปี ดังนั้นนายสุเทพจึงคงมีความรับผิดตามหนี้อยู่เมื่อนายวิศิษฏ์ฟ้ องร้องผู้ประกันภัยภายใน 2 ปี นับแต่วันวินาศภัยจึงยังคงอยู่ในอายุความที่จะเรียกร้องบริษัทร ับประกันให้รับผิดได้ส่วนจำนวนเงินที่บริษัทประกันจะต้องจ่ายให ้นายวิศิษฏ์นั้นไม่เกินวงเงินที่เอาประกัน คือ 200,000บาท ตามมาตรา 882 และ 887วรรคสอง เงินเหลืออีก 50, 000บาทนายวิศิษฏ์ต้องไปฟ้องร้องเอาจากนายสุเทพซึ่งเป็นลูกหนี้ช ั้นต้นโดยตรงตามมาตรา 888 กรณีนี้ข้อต่อสู้ของบริษัทรวมประกันจำกัดฟังไม่ขึ้น
    สรุป
    1. บริษัทรวมประกันจำกัดต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่นายวิศิษฏ์จ ำนวน 200,000 บาท
    2. ฟ้องของนายวิศิษฏ์ที่เรียกร้องให้บริษัทรวมประกันจำกัดรับผิดนั ้นยังไม่ขาดอายุความ
    3. นายวิศิษฏ์มีสิทธิที่จะฟ้องร้องให้นายสุเทพรับผิดอีก 50,000 บาท



    nustatalo
    nustatalo
    อนุบาล3
    อนุบาล3


    จำนวนข้อความ : 84
    Join date : 19/11/2009
    : 44
    ที่อยู่ : นิคมพัฒนา

    กฎหมายพาณิชณ์ 2 Empty Re: กฎหมายพาณิชณ์ 2

    ตั้งหัวข้อ  nustatalo Mon Mar 21, 2011 9:46 am

    โจทย์
    นายจำลองมอบให้นายสามารถเป็นตัวแทนดูแลกิจการบ่อปลาของนายจำลอง โดยตกลงกันว่านายจำลองจะจ่ายค่าบำเหน็จให้กับนายสามารถตามจำนวน บ่อปลาที่จะต้องดูแล ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 5 บ่อ คดีเป็นค่าบำเหน็จบ่อละ 3,000 บาทและกำหนดกันว่าให้สัญญาตัวแทนสิ้นสุดลงเมื่อจับปลาออกขายได้ เสร็จสิ้นแล้วทุกบ่อ ขอให้ท่านวินิจฉัยกรณีดังต่อไปนี้คือ
    1. นายสามารถดูแลบ่อปลาไม่ดีพอ ทำให้ปลาตายทั้งบ่อไปเป็นจำนวน 2 บ่อ นายจำลองจึงจ่ายค่าบำเหน็จให้นายสามารถเพียง 9,000 บาท โดยบอกว่าอีก 2 บ่อที่เสียหายไปนั้น นายสามรถไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จ ส่วนนายสามารถก็โต้แย้งว่าตนควรจะได้ทั้งหมดคือ 15,000 บาท เพราะตกลงค่าบำเหน็จกันไว้จำนวน 5 บ่อ เช่นนี้ ข้ออ้างของฝ่ายใดรับฟังได้ เพราะเหตุใด
    2. เมื่อปลาในบ่อโตพอจะจับขายได้แล้วนายจำลองได้จับปลาขายไปได้เพี ยง 2 บ่อก็หยุดจับขาย เพราะเป็นช่วงที่ปลาราคาตกต่ำ จึงระงับการจับขายไว้ก่อน ระหว่างนั้นนายสามารถมาทวงถามให้ชำระค่าบำเหน็จ นายจำลองไม่ยอมจ่ายให้ เพราะอ้างว่ายังจับปลาไม่ได้ครบทุกบ่อ เช่นนี้ ข้ออ้างของนายจำลองรับฟังได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

    เฉลย
    1. ตามบทบัญญัติของมาตรา 808 กำหนดไว้ว่าการในหน้าที่ตัวแทนส่วนใด ตัวแทนได้ทำมิชอบในส่วนนั้นท่านว่าตัวแทนไม่มีสิทธิจะได้บำเหน็ จ ดังนั้นเมื่อนายสามารถดูแลไม่ดีทำให้ปลาตายไปจำนวน 2 บ่อ จึงมีสิทธิที่จะรับค่าบำเหน็จไปจากจำลองเพียง 9,000 บาท กล่าวคือได้รับค่าบำเหน็จเพียง 3 บ่อ ดังนั้นข้ออ้างของนายสามรถจึงฟังไม่ขึ้น
    2. เรื่องการจ่ายบำเหน็จมาตรา 817 ได้กำหนดไว้หากคู่สัญญามิได้ตกลงกันเป็นอย่างอื่นบำเหน็จจะพึงจ ่ายให้แก่กันก็ต่อเมื่อการเป็นตัวแทนได้สุดสิ้นลงแล้ว กรณีตามอุทาหรณ์นายสามารถกับนายจำลองตกลงกันไว้ว่าจะจ่ายบำเหน็ จเมื่อจับปลาขายได้เสร็จสิ้นแล้ว ดังนั้นเมื่อปรากฎว่ายังไม่สามารถจับปลาออกขายได้ครบทุกบ่อเพรา ะเหตุที่ปลาราคาตกต่ำมากเช่นนี้นายสามารถจะขอรับบำเหน็จไปก่อนย ่อมไม่ได้คำกล่าวอ้างของนายจำลองจึงถูกต้อง
    nustatalo
    nustatalo
    อนุบาล3
    อนุบาล3


    จำนวนข้อความ : 84
    Join date : 19/11/2009
    : 44
    ที่อยู่ : นิคมพัฒนา

    กฎหมายพาณิชณ์ 2 Empty Re: กฎหมายพาณิชณ์ 2

    ตั้งหัวข้อ  nustatalo Mon Mar 21, 2011 9:48 am

    สอบไล่ภาคการเรียนที่ 1 / 2538 กฎหมายพาณิชย์ 2

    1. ทิวามอบหมายให้ราตรีไปทำสัญญาซื้อขายที่ดินโฉนดเลขที่ 123 กับจันตรี และราตรีตกลงทำการดังกล่าว ในการทำสัญญาซื้อขายที่ดินนั้น ราตรีได้ออกค่าธรรมเนียมสำหรับการทำสัญญาดังกล่าวเป็นจำนวนเงิน 2,000 บาท เพื่อให้กิจการของทิวาสำเร็จลุล่วงไป ต่อมาราตรีได้เรียกร้องให้ทิวาชดใช้เงินจำนวนดังกล่าว ทิวาปฏิเสธโดยอ้างว่า การที่ราตรีออกเงินค่าธรรมเนียมไปนั้น มิได้มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อทิวา ทั้งการมอบหมายให้ราตรีไปทำการดังกล่าวนั้นก็มิได้ทำเป็นหนังสื อแต่อย่างใด ดังนี้ข้ออ้างของทิวาฟังขึ้นหรือไม่


    หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งละพาณิชย์
    มาตรา 797 วรรคแรก บัญญัติว่า “อันว่าสัญญาตัวแทนนั้น คือสัญญาให้บุคคลคนหนึ่ง เรียกว่าตัวแทน มีอำนาจทำการแทนบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่าตัวการและตกลงจะทำการดังนั้น”
    มาตรา 798 วรรคแรก “บัญญัติไว้ ถ้าในการใดท่านบังคับไว้โดยกฎหมายว่าทำเป็นหนังสือ การตั้งตัวแทนเพื่อกิจการนั้นก็ต้องทำเป็นหนังสือด้วย”
    มาตรา816 วรรคแรก “ ถ้าในการจัดทำกิจการอันเขามอบหมายแก่ตนนั้นตัวแทนได้ออกเงินทดร องหรือค่าใช้จ่ายไป ซึ่งพิเคราะห์ตามเหตุควรนับว่าเป็นการจำเป็นได้ไซร้ ท่านว่าตัวจะเรียกเอาเงินชดใช้จากตัวการรวมทั้งดอกเบี้ยนับแต่ว ันที่ได้ ออกเงินไปนั้นด้วยก็ได้”

    วินิจฉัย
    ตามปัญหา ราตรีเป็นตัวแทนของทิวาในการทำสัญญาซื้อขายที่ดินโฉนดที่ 123 กับจันตรี ตาม ปพพ. มาตรา 797 เพราะราตรีตกลงทำการให้กับทิวาตามที่ได้รับมอบหมายและในการจัดท ำกิจการตามที่ทิวามอบหมายนั้น ราตรีได้ออกเงินค่าธรรมเนียมสำหรับการทำสัญญาดังกล่าวอันเป็นเง ินทดรอง ซึ่งถือได้ว่าเป็นการจำเป็นเพื่อให้การทำสัญญานั้นสำเร็จลุล่วง ไป ตาม ปพพ. มาตรา 816 วรรคแรก ทิวาซึ่งเป็นตัวการจึงมีหน้าที่ต้องชดใช้เงินจำนวน 2,000 บาท ที่ราตรีได้ออกไป ทิวาจะปฏิเสธโดยอ้างว่า การที่ราตรีออกเงินค่าธรรมเนียมไปนั้น มิได้มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อทิวาไม่ได้ เพราะตามปัญหาไม่ใช่กรณีการดั๊น้ยืมเงินกว่า 50 บาท แต่อย่างใด และจะอ้างว่าการมอบหมายให้ราตรีไปทำการดังกล่าวนั้นมิได้ทำเป็น หนังสือ ตาม ปพพ.มาตรา 798 วรรคแรก ก็ไม่ได้เนื่องจากสัญญาตัวแทนไม่มีแบบ เมื่อทิวาเป็นตัวการย่อมมีหน้าที่ตาม ปพพ. มาตรา 816 วรรคแรก ดังกล่าวทั้งตามปัญหาเป็นเรื่องระหว่างตัวการกับตัวแทนซึ่งไม่อ ยู่ในบังคับของมาตรา 798

    สรุป
    ข้ออ้างของทิวาฟังไม่ขึ้น
    nustatalo
    nustatalo
    อนุบาล3
    อนุบาล3


    จำนวนข้อความ : 84
    Join date : 19/11/2009
    : 44
    ที่อยู่ : นิคมพัฒนา

    กฎหมายพาณิชณ์ 2 Empty Re: กฎหมายพาณิชณ์ 2

    ตั้งหัวข้อ  nustatalo Mon Mar 21, 2011 9:48 am

    กฎหมายพาณิชย์ 2

    ข้อ 3
    ก. เหตุใดผู้รับประกันภัยที่ชำระค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยค ้ำจุนให้ผู้คำประกันจึงไม่รุดพ้นความรับผิด และการที่ผู้ต้องเสียหายไม่เรียกผู้เอาประกันภัยเข้าไปในคดีที่ ตนฟ้องผู้รับประกันภัยนั้น มีผลตามกฎหมายอย่างใดจงอธิบาย
    ข. อายุความตามสัญญาประกันภัยค้ำจุนเกี่ยวข้องกับอายุความในมูลนี้ ผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดอย่างใด และปัญหาอายุความเป็นปัญหาที่เกี่ยวด้วยอำนาจฟ้องของผู้รับประก ันภัยใช่หรือไม่

    เฉลย
    ก. ผู้รับประกันภัยที่ชำระค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยค้ำจุน ให้ผู้เอาประกันภัยไม่หลุดพ้นความรับผิด เพราะผู้เอาประกันภัยมิใช่ผู้ได้รับความเสียหายจากวินาศภัยที่เ กิดขึ้นการที่ผู้รับประกันภัยชำระค่าสินไหมทดแทนให้ไปจึงไม่ใช่ การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความเสียหายที่แท้จริง ผู้รับประกันภัยจึงไม่หลุดพ้นความรับผิดชอบ
    การที่ผู้ต้องเสียหายไม่เรียกผู้เอาประกันภัยเข้าไปในคดีที่ฟ้อ งผู้รับประกันภัยนั้น มีผลตามกฎหมายคือ ผู้ต้องเสียหายจะนำคดีไปฟ้องผู้เอาประกันภัยให้ชำระค่าสินไหมทด แทนส่วนที่ขาดเป็นคดีใหม่ไม่ได้ เพราะถือว่าผู้ต้องเสียหายได้แสดงเจตนาสละสิทธิของตนในมูลนี้ที ่มีต่อผู้เอาประกันภัยแล้ว
    ข. อายุความตามสัญญาประกันภัยค้ำจุนเกี่ยวข้องกับอายุความในมูลนี้ ที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบ กล่าวคือ ถ้าปรากฏว่าคดีที่ผู้ต้องเสียหายฟ้องผู้เอาประกันภัยขาดอายุควา ม ผู้เอาประกันภัยไม่ต้องรับผิดต่อผู้ต้องเสียหาย ผู้รับประกันภัยย่อมไม่ต้องรับผิดตามมาตรา 887 วรรคแรก แต่ถ้าไม่มีคดีฟ้องผู้ก่อความเสียหายและผู้เอาประกันไม่ได้ปฏิเ สธความรับผิดด้วยเหตุอายุความ ผู้รับประกันภัยจะต่อสู้ว่าสิทธิเรียกร้องของผู้เสียหายที่มีต่ อผู้เอาประกันภัยขาดอายุความแล้วไม่ได้ เพราะไม่ใช่ข้อต่อสู้ในมูลนี้ของสัญญาประกันภัย
    ตามปกติปัญหาตามอายุความไม่ใช่ปัญหาที่เกี่ยวด้วยอำนาจฟ้องของผ ู้รับประกันภัย แต่ถ้าการขาดอายุความนั้นเป็นปัญหาที่เกี่ยวด้วยความรับผิดของผ ู้เอาประกันภัย ซึ่งเป็นผลให้ผู้ต้องเสียหายไม่มีอำนาจฟ้องผู้รับประกันภัยแล้ว แม้ผู้รับประกันภัยจะไม่ได้ยกอายุความข้นต่อสู้ ศาลก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้



    nustatalo
    nustatalo
    อนุบาล3
    อนุบาล3


    จำนวนข้อความ : 84
    Join date : 19/11/2009
    : 44
    ที่อยู่ : นิคมพัฒนา

    กฎหมายพาณิชณ์ 2 Empty Re: กฎหมายพาณิชณ์ 2

    ตั้งหัวข้อ  nustatalo Mon Mar 21, 2011 9:52 am

    กฎหมายพาณิชย์ 2

    โจทก์
    ส้มทำสัญญาดั๊น้ยืมเงินแสดจำนวน 30,000 บาทโดยระบุลงในสัญญาข้อหนึ่งว่า “อัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย” ส้มค้างชำระดอกเบี้ยดังนี้เมื่อส้มผิดสัญญาดังกล่าว แสดจะเรียกให้ส้มชำระดอกเบี้ยที่ค้างชำระในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี ได้หรือไม่ อย่างไร และแสดจะนำต้นเงิน 30,000 บาท กับดอกเบี้ยที่ค้างชำระมารวมเป็นต้นเงินใหม่ และคิดดอกเบี้ยจากเงินจำนวนใหม่นี้ตามสัญญาที่ทำไว้ได้อีกหรือไ ม่


    เฉลย
    หลักกฎหมายในเรื่องดอกเบี้ยเงินให้ดั๊น้ยืมเงินนั้น ปพพ. มาตรา7 บัญญัติว่า “ ถ้าจะเสียดอกเบี้ยแก่กันและดอกเบี้ยนั้นมิได้กำหนดอัตราไว้โดยน ิติกรรม หรือ โดยกฎหมายอันใดอันหนึ่งขัดแจ้งไซร์ ท่านให้ใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่ง และในเรื่องการคิดดอกเบี้ยทบต้นนั้น” ปพพ. มาตรา 655 บัญญัติว่า “ท่านห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่ค้าชำระ แต่ทว่าดอกเบี้ยค้าง”


    กฎหมายพาณิชย์ 2

    โจทก์
    ฟ้าทำสัญญาดั๊น้ยืมเงินน้ำเงินจำนวน 40,000 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปี กำหนดชำระคืนภายใน 3 ปี ฟ้าค้างชำระดอกเบี้ยน้ำเงินเป็นเวลา 2 ปี วันหนึ่งน้ำเงินพบฟ้าที่ตลาดจึงได้ทวงถามให้ฟ้าชำระดอกเบี้ยดัง กล่าว ฟ้าตอบว่าไม่มีชำระ แต่ตกลงยินยอมให้น้ำเงินคิดดอกเบี้ยทบต้นจากต้นเงิน 40,000 บาท ได้ดังนี้ น้ำเงินจะมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้นได้หรือไม่ เพียงใด

    เฉลย
    หลักกฎหมายในเรื่องการคิดดอกเบี้ยทบต้นในสัญญาดั๊น้ยืมเงินนั้น ปพพ. มาตรา 655 บัญญัติว่า “ท่านห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่ค้างชำระ แต่ทว่าดอกเบี้ยค้างชำระไม่น้อยกว่าปีหนึ่ง คู่สัญญาดั๊น้ยืมจะตกลงกันให้เอาดอกเบี้ยนั้นทบกับต้นเงินแล้วให้ คิดดอกเบี้ยในจำนวนเงินที่ทบเข้ากันก็ได้ แต่การตกลงเช่นนั้นต้องทำเป็นหนังสือ”
    ตามปัญหาการที่น้ำเงินจะนำดอกเบี้ยที่ค้างชำระมารวมกับต้นเงิน4 0,000 บาทและคิดดอกเบี้ยทบต้นจากจำนวนเงินดังกล่าวนั้นต้องห้ามตาม ปพพ. มาตรา 655 แต่ถ้ามีดอกเบี้ยค้างชำระไม่น้อยกว่าหนึ่งปีแล้ว ให้คิดดอกเบี้ยทบต้นกันได้ ในกรณีนี้ฟ้าค้างชำระดอกเบี้ยมากว่า 1 ปีแล้ว คือ 2 ปี น้ำเงินกับฟ้าตกลงกันให้เอาดอกเบี้ย นั้นทบกับต้นเงินแล้วให้คิดดอกเบี้ยในจำนวนเงินที่ทบเข้ากันนั้ นได้ แต่การตกลงเช่นนี้ต้องทำเป็นหนังสือ ดังนั้นนำเงินจะคิดดอกเบี้ยทบต้นไม่ได้ ได้แต่คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี ที่ตกลงกันไว้ในสัญญาเท่านั้น

    โจทย์
    นายสีนำรถยนต์ไปประกันภัยค้ำจุนไว้กับ บริษัทรุ่งเรืองประกันภัย ต่อมานายสีขับรถยนต์คันดังกล่าวไปชนรถยนต์ของนายแสงโดยประมาทเล ินเล่อ เป็นค่าเสียหายเป็นจำนวน50,000 บาท เวลาผ่าพ้นไป 1 ปี 6 เดือน นายแสง ได้เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง บริษัทรุ่งเรืองประกันภัย



    เฉลย
    ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 861 บัญญัติว่า “ อันว่าสัญญาประกันภัยนั้นคือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งตกลงจะใช้ค่า สินไหมทดแทนหรือใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้นหร ือในเหตุอย่างอื่นในอนาคตดังได้ระบุไว้ในสัญญา ”
    มาตรา 877 บัญญัติว่า “ผู้รับประกันภัยจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน ดังกล่าวต่อไปนี้ คือ (1) เพื่อจำนวนวินาศภัยอันแท้จริง”
    มาตรา 880 บัญญัติว่า “ถ้าความวินาศภัยนั้นได้เกิดขึ้นเพราะการกระทำของบุคคลภาย
    นอกไซร้ ผู้รับประกันภัยได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนไปเป็นจำนวนเพียงใดผู้รับป ระกันภัยย่อมเข้ารับช่วงสิทธิของผู้เอาประกันภัยและของผู้รับปร ะโยชน์ซึ่งมีต่อบุคคลภายนอกเพียงนั้น ”
    และมาตรา 877 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติว่า “ อันว่าประกันภัยค้ำจุนนั้นคือสัญญาประกันภัยซึ่งผู้รับประกันภั ยตกลงว่าใช้เงินค่าสินไหมทดแทนในนามของผู้เอาประกันภัยเพื่อควา มวินาศภัยอันเกิดขึ้นแก่บุคคลอีกคนหนึ่งและซึ่งผู้เอาประกันภัย จะต้องรับผิดชอบ”
    บุคคลผู้ต้องเสียหายชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนตามที่ตนควรจะ ได้นั้นจากผู้รับประกันภัยโดยตรง แต่ค่าสินไหมทดแทนเช่นว่านี้อาจจะคิดเกิดไปกว่าจำนวนผู้รับประก ันภัยจะพึงต้องใช้ตามสัญญานั้นได้ไม่ ในคดีระหว่างบุคคลผู้ต้องเสียหายเรียกตัวผู้เอาประกันภัยเข้ามา ในคดีด้วย
    อนึ่ง ผู้รับประกันภัยนั้นแม้จะได้ส่งค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประก ันภัยแล้วก็ยังหาหลุดพ้นจากความรับผิดต่อบุคคลผู้ต้องเสียหายนั ้นไม่ เว้นแต่ตนจะพิสูจน์ได้ว่าสินไหมทดแทน นั้นผู้เอาประกันภัยได้ให้แก่ผู้ต้องเสียหายแล้ว
    การรับช่วงสิทธิเป็นหลักเกณฑ์อันสำคัญของสัญญาประกันวินาศภัยเพ ราะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการจ่ายค่าสินไหมทดแทนตามความเส ียหายที่แท้จริง เมื่อผู้รับประกันภัยได้จ่ายค่าสินไหมทดแทนไปจำนวนเท่าใดย่อมเข ้ารับช่วงสิทธิของผู้เอาประกันภัยเพียงเท่านั้น การรับช่วงสิทธิเกิดขึ้นโดยอำนาจของกฎหมายเมื่อลูกหนี้ต้องชำระ ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายเต็มตามราคาทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งม ูลนี้ ผู้รับช่วงสิทธิสามารถเข้าใช้ช่วงสิทธิของผู้เอาประกันภัยทั้งห มดที่มีอยู่ในนามของตนเองโดยไม่ต้องรับคำยินยอมของผู้เอาประกัน ภัยและกฎหมายมิได้กำหนดแบบหรือหลักเกณฑ์กฎหมายเป็นหนังสือในการ รับช่วงสิทธิแต่อย่างใด
    ปัญหาตามอุทาหรณ์ เมื่อรถยนต์ที่เอาประกันของนายธงชัยถูกรถยนต์บรรทุก 6 ล้อ ของนายวิรัตน์ชนเสียหายทั้งคัน บริษัทไทยประกันจำกัดผู้รับประกันภัยจึงต้องใช่ค่าสินไหมทดแทนต ามสัญญาประกันภัย (มาตรา867 และ 877) และเมื่อ บริษัทประกันภัยจำกัดได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันเต็ม จำนวนแล้วย่อมรับช่วงสิทธิของผู้เอาประกันภัยคือ นายธงชัยไปเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากผู้ก่อวินาศภัยคือนายดำลู กจ้างของนายวิรัตน์ ซึ่งกระทำละเมิดในขณะทำงาน ในทางการที่จ้างนายดำรับต้องรับผิด และนายวิรัตน์ต้องรับผิดในฐานะนายจ้างด้วย ส่วนบริษัทรุ่งเรืองประกันภัยในฐานะผู้รับประกันภัยค้ำจุนต้องช ดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่นายธงชัยผู้เสียหายในนามวิรัตน์ ผู้เอาประกันภัยค้ำจุน( มาตรา 887 วรรค 1) ดังนั้น บริษัทไทยประกันจำกัดผู้รับช่วงสิทธิของนายธงชัย สามารถเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทรุ่งเรืองประกันภัยได้
    กรณีที่บริษัทรุ่งเรืองประกันภัยได้ชดใช้ค่าเสียหายแก่นางอาภรณ ์เป็นค่ารักษาพยาบาลที่เด็กหญิงธนาภรณ์เสียชีวิตนั้นไม่เป็นการ ชดใช้ค่าเสียหายในกรณีที่รถยนต์ของนายธงชัยถูกชนเสียหายทั้งคัน ด้วย ดังนั้นนายธงชัยยิ่งมีสิทธิได้รับค่าชดใช้เสียหายเต็มจำนวนจากน ายดำ นายวิรัตน์ ซึ่งบริษัทรุ่งเรืองประกันภัยต้องรับผิดในฐานะผู้รับประกันภัยค ้ำจุน (มาตรา 887 วรรค 2) ข้อต่อสู้ของบริษัทรุ่งเรืองประกันภัยจำกัด ฟังไม่ขึ้น

    สรุป
    1. บริษัทไทยประกันจำกัดต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่นายธงชัยตามสัญ ญาวินาศภัย
    2. บริษัทไทยประกันจำกัดสามารถรับช่วงสิทธิของนายธงชัยเรียกร้องค่ าสินไหมทดแทนจากนายดำ นายวิรัตน์ได้ และในกรณีในบริษัทรุ่งเรืองประกันภัยมีความผูกพันต้องชดใช้ค่าส ินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายในนามนายวิรัตน์ ซึ่งต้องรับผิดตามสัญญาประกันภัยค้ำจุน
    3. บริษัทไทยประกันจำกัดจึงสามารถเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษั ทรุ่งเรืองประกันภัย จำกัดได้ ข้ออ้างของบริษัทรุ่งเรืองประกันภัยจำกัดฟังไม่ขึ้น


    nustatalo
    nustatalo
    อนุบาล3
    อนุบาล3


    จำนวนข้อความ : 84
    Join date : 19/11/2009
    : 44
    ที่อยู่ : นิคมพัฒนา

    กฎหมายพาณิชณ์ 2 Empty Re: กฎหมายพาณิชณ์ 2

    ตั้งหัวข้อ  nustatalo Mon Mar 21, 2011 9:54 am

    กฎหมายพาณิชย์ 2

    คำถาม
    นายสามารถมอบอำนาจให้นายจำเริญเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ดูแลกิจการร้านค้าของนายสามารถ เมื่อนายจำเริญเข้ามาดำเนินการตามที่ได้รับมอบหมาย นายจำเริญก็ได้ทำสัญญาจ้างนายเสรีมาทำการต่อเติมอาคารห้องเก็บส ินค้าเพื่อขยายกิจการ ต่อมานายเสรีผิดสัญญาอ้างดังกล่าวว่าทิ้งงาน นายจำเริญจึงขออนุญาตนายสามารถเพื่อยื่นฟ้องนายเสรีต่อศาลตามสั ญญาจ้าง นายสามารถก็อนุญาต ระหว่างฟ้องคดีนายเสรีได้ขอทำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อนายจำเ ริญ นายจำเริญสงสารนายเสรีจึงยอมทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับนายเส รีกรณีเช่นนี้ท่านเห็นวานายจำเริญทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับ นายเสรีได้หรือไม่ เพราะเหตุใด


    เฉลย
    โดยปกติแล้วเมื่อตัวการมอบอำนาจทั่วไปให้แก่ตัวแทน ตัวแทนย่อมสามารถทำกิจใดๆ แทนตัวการได้ทุกอย่าง ยกเว้นจะเป็นกรณีตามมาตรา 801 (1)-(6) คือ
    1. ขายหรือจำนองอังหาริมทรัพย์
    2. ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์กว่าสามปีขึ้นไป
    3. ให้
    4. ประนีประนอมยอมความ
    5. ยื่นฟ้องต่อศาล
    6. มอบข้อพิพาทให้อนุญาตตุลาการพิจารณา
    กรณีทั้ง 6 ประการนี้ตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไปไม่อาจกระทำได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตโดยชัดแจ้งจากตัวการ กรณีตามปัญหาเมื่อนายสามารถอนุญาตให้นายจำเริญยื่นฟ้องนายเสรีไ ด้ นายจำเริญก็ย่อมทำได้ แต่นาสามารถไมได้อนุญาตให้นายทำสัญญาประนีประนอมความกับนายเสรี แต่อย่างใด ดังนั้นนายจำเริญจึงไม่อาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวได ้ เพราะเข้าอยู่ในข้อห้ามตามมาตรา 801(4)



      เวลาขณะนี้ Fri Apr 19, 2024 5:38 pm